ใบงานทดสอบความรู้บทที่ 2
เรื่อง ระบบคอมพิวเตอร์
1. ระบบคอมพิวเตอร์(Computer System) หมายถึง
1. ฮาร์ดแวร์ (Hardware)
ฮาร์ดแวร์ หมายถึง อุปกรณ์ต่างๆ ที่ประกอบขึ้นเป็นคอมพิวเตอร์มีลักษณะเป็นโครงร่างสามารถมองเห็นด้วยตาและสัมผัสได้ เช่น จอภาพ คีย์บอร์ด เครื่องพิมพ์ เมาส์ เป็นต้น
2. ซอฟต์แวร์ (Software)
ฮาร์ดแวร์ หมายถึง อุปกรณ์ต่างๆ ที่ประกอบขึ้นเป็นคอมพิวเตอร์มีลักษณะเป็นโครงร่างสามารถมองเห็นด้วยตาและสัมผัสได้ เช่น จอภาพ คีย์บอร์ด เครื่องพิมพ์ เมาส์ เป็นต้น
2. ซอฟต์แวร์ (Software)
ซอฟต์แวร์ หมายถึง โปรแกรม (Program) หรือชุดคำสั่งที่ควบคุมให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำงานให้ได้ผลลัพธ์ตามที่ต้องการ
1. อนาลอกคอมพิวเตอร์ (Analog Computer)
2. ดิจิทัลคอมพิวเตอร์ (Digital Computer)
3. ไฮบริดคอมพิวเตอร์ (Hybrid Computer
แบ่งตามขนาดของเครื่องคอมพิวเตอร์
1. ซุปเปอร์คอมพิวเตอร์ (Super Computer)
2. เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ (Mainframe Computer)
3. มินิคอมพิวเตอร์ (Mini Computer)
4. ไมโครคอมพิวเตอร์ (Micro Computer)
4. รูปแบบการประมวลผลของคอมพิวเตอร์ มีกี่แบบ อะไรบ้าง อธิบาย
1. การประมวลผลส่วนบุคคล (Personal Computing) ไมโครคอมพิวเตอร์ หรือคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล (Personal Computer: PC) จะมีการประมวลผลโดยใช้เครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องเดียวที่เป็นอิสระจากกัน เครื่องคอมพิวเตอร์แต่ละเครื่องจะไม่สามารถติดต่อสื่อสาร เชื่อมโยงข้อมูลร่วมกันได้ ซึ่งหากต้องการใช้ข้อมูลร่วมกันจะต้องคัดลอกไปยังหน่วยความจำสำรอง เช่น แผ่นดิสก์ จากเครื่องเพื่อถ่านโอนสู่อีกเครื่องหนึ่ง
2. การประมวลผลแบบรวมศูนย์ (Centralized Computing) เป็นระบบที่นำอุปกรณ์ประมวลผล ทั้งฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์มารวมไว้ในคอมพิวเตอร์เครื่องเดียว ใช้กับองค์กรขนาดใหญ่ซึ่งใช้คอมพิวเตอร์ชนิดเมนเฟรมคอมพิวเตอร์ (Mainframe Computer) โดยมีผู้ทำหน้าที่ควบคุมการประมวลผลเพียงผู้เดียว ซึ่งเป็นที่ยุ่งยากมาก ต่อมาจึงมีการพัฒนาการประมวล โดยแบ่งออกได้เป็น 2 วิธี คือ
2.1 การประมวลผลแบบแบทซ์ (Batch Processing) เป็นระบบที่ทำงานในลักษณะเตรียมการประมวลผลในขั้นต่อไป โดยใช้อุปกรณ์ประเภท Input/output ซึ่งอุปกรณ์เหล่านี้ไม่อยู่ภายใต้การควบคุมของ CPU เช่น เครื่องบันทึกเทป (Key to Tape) เครื่องบันทึกจานแม่เหล็ก (Key to Disk) บัตรเจาะรู (Punched Card) เป็นอุปกรณ์นำเข้าและอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลมีลักษณะการประมวลผลโดยมีการรวบรวมข้อมูลไว้ช่วงเวลาหนึ่งก่อนที่จะนำข้อมูลมาประมวลผลพร้อมกัน การประมวลผลจะทำเป็นช่วงเวลา เช่น การทำบัญชีเงินเดือนพนักงานทุกสิ้นเดือนระบบคิดดอกเบี้ยสะสม 3 เดือน 6 เดือน หรือ 1 ปี ของธนาคาร การบันทึกเกรดของนักศึกษาในแต่ละภาคเรียน จนถึงภาคเรียนสุดท้ายจึงพิมพ์ใบรับรองเกรดเฉลี่ย ข้อมูลการใช้โทรศัพท์มือถือภายในช่วงรอบบัญชี (1 เดือน) จะถูกเก็บสะสมจนสิ้นสุดรอบบัญชี การประมวลผลแบบนี้จะไม่มีการโต้ตอบระหว่างผู้ใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ จึงเรียกอีกอย่างหนึ่งว่าระบบออฟไลน์ (Off-line System) มีข้อดี คือช่วยประหยัดค่าใช้จ่ายในการใช้อุปกรณ์แต่ก็มีข้อเสีย คือ ข้อมูลจะไม่ทันสมัย
2.2 การประมวลผลแบบออนไลน์ (On-line Processing) เป็นวิธีที่ผู้ใช้สามารถใช้งานพร้อมกันได้หลายคน (Multi-user) จะประมวลผลทันทีเมื่อรับข้อมูลเข้ามา โดยไม่ต้องรอรวมข้อมูลหรือสะสมข้อมูลไว้ก่อน โดยมีการเชื่อมต่อกับเครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ที่อยู่ในสถานที่อื่นมีความสามารถในการทำงานบางอย่างได้ เช่น เครื่องเอทีเอ็ม เครื่องตัดยอดของสินค้าทุกครั้งเมื่อมีการสั่งซื้อ เป็นต้น ข้อดี คือ ทำให้ได้ข้อมูลที่ทันสมัยเป็นปัจจุบันตลอดเวลา ข้อเสียคือ หากมีข้อมูลมาก การประมวลผลช้าลง เนื่องจากมีเพียงเครื่องแม่ข่ายเท่านั้นที่ทำการประมวลผล
3. การประมวลผลแบบกระจาย (Distributed Computing) เมื่อมีการใช้งานคอมพิวเตอร์ในองค์กรที่มีขนาดใหญ่ขึ้น อาจมีการขยายสาขาออกไป ทำให้มีระบบการทำงานที่มีขนาดใหญ่ จึงมีการนำการประมวลผลแบบกระจายจากศูนย์กลางมาใช้เพื่อชดเชยข้อจำกัดของการประมวลแบบรวมศูนย์ที่ค่อนข้างล่าช้า ส่งผลให้สามารถจัดสรรทรัพยากรเพื่อกระจายและแจกจ่ายการใช้งานข้อมูลต่างๆ ร่วมกันได้ทั่วทั้งองค์กรและรวดเร็วมากขึ้น รวมทั้งระหว่างหน่วยงานย่อยขององค์กรด้วย เช่น ฐานข้อมูล ข่าวสาร เครื่องคอมพิวเตอร์ เครื่องพิมพ์ เครื่องโทรสาร และเครื่องสแกนเนอร์ เป็นต้น
5. ข้อจำกัดของคอมพิวเตอร์
สรุปผลการศึกษาค้นคว้า เรื่อง ระบบคอมพิวเตอร์
ได้ศึกษาค้นคว้าด้วยวิธีการ อิเตอร์เน็ต
แหล่งความรู้ที่ได้ศึกษาค้นคว้า จาก
https://sites.google.com/site/computerinbusiess/computer-system
http://www.wimut.ac.th/61/12
http://popandit1.blogspot.com/2013/05/35-1.html
http://www.thaiwbi.com/course/Intro_com/Intro_com/wbi1/hie/page33.htm
https://sites.google.com/site/loryeng2/rup-baeb-kar-pramwl-phl-khxng-khxmphiwtexr
https://www.gotoknow.org/posts/210856
ลงชื่อ ศศิมาภรณ์ วันทนะ ผู้ศึกษาค้นคว้า
(นางสาวศศิมาภรณ์ วันทนะ)
2. องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์ มีอะไรบ้าง
1. ฮาร์ดแวร์
2. ซอฟต์แวร์
3. บุคลากรคอมพิวเตอร์
4. ข้อมูล
5. กระบวนงาน
3. ประเภทของเครื่องคอมพิวเตอร์
แบ่งตามลักษณะของข้อมูล มีอะไรบ้าง
1. ฮาร์ดแวร์
2. ซอฟต์แวร์
3. บุคลากรคอมพิวเตอร์
4. ข้อมูล
5. กระบวนงาน
3. ประเภทของเครื่องคอมพิวเตอร์
แบ่งตามลักษณะของข้อมูล มีอะไรบ้าง
1. อนาลอกคอมพิวเตอร์ (Analog Computer)
2. ดิจิทัลคอมพิวเตอร์ (Digital Computer)
3. ไฮบริดคอมพิวเตอร์ (Hybrid Computer
แบ่งตามขนาดของเครื่องคอมพิวเตอร์
1. ซุปเปอร์คอมพิวเตอร์ (Super Computer)
2. เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ (Mainframe Computer)
3. มินิคอมพิวเตอร์ (Mini Computer)
4. ไมโครคอมพิวเตอร์ (Micro Computer)
4. รูปแบบการประมวลผลของคอมพิวเตอร์ มีกี่แบบ อะไรบ้าง อธิบาย
1. การประมวลผลส่วนบุคคล (Personal Computing) ไมโครคอมพิวเตอร์ หรือคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล (Personal Computer: PC) จะมีการประมวลผลโดยใช้เครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องเดียวที่เป็นอิสระจากกัน เครื่องคอมพิวเตอร์แต่ละเครื่องจะไม่สามารถติดต่อสื่อสาร เชื่อมโยงข้อมูลร่วมกันได้ ซึ่งหากต้องการใช้ข้อมูลร่วมกันจะต้องคัดลอกไปยังหน่วยความจำสำรอง เช่น แผ่นดิสก์ จากเครื่องเพื่อถ่านโอนสู่อีกเครื่องหนึ่ง
2. การประมวลผลแบบรวมศูนย์ (Centralized Computing) เป็นระบบที่นำอุปกรณ์ประมวลผล ทั้งฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์มารวมไว้ในคอมพิวเตอร์เครื่องเดียว ใช้กับองค์กรขนาดใหญ่ซึ่งใช้คอมพิวเตอร์ชนิดเมนเฟรมคอมพิวเตอร์ (Mainframe Computer) โดยมีผู้ทำหน้าที่ควบคุมการประมวลผลเพียงผู้เดียว ซึ่งเป็นที่ยุ่งยากมาก ต่อมาจึงมีการพัฒนาการประมวล โดยแบ่งออกได้เป็น 2 วิธี คือ
2.1 การประมวลผลแบบแบทซ์ (Batch Processing) เป็นระบบที่ทำงานในลักษณะเตรียมการประมวลผลในขั้นต่อไป โดยใช้อุปกรณ์ประเภท Input/output ซึ่งอุปกรณ์เหล่านี้ไม่อยู่ภายใต้การควบคุมของ CPU เช่น เครื่องบันทึกเทป (Key to Tape) เครื่องบันทึกจานแม่เหล็ก (Key to Disk) บัตรเจาะรู (Punched Card) เป็นอุปกรณ์นำเข้าและอุปกรณ์จัดเก็บข้อมูลมีลักษณะการประมวลผลโดยมีการรวบรวมข้อมูลไว้ช่วงเวลาหนึ่งก่อนที่จะนำข้อมูลมาประมวลผลพร้อมกัน การประมวลผลจะทำเป็นช่วงเวลา เช่น การทำบัญชีเงินเดือนพนักงานทุกสิ้นเดือนระบบคิดดอกเบี้ยสะสม 3 เดือน 6 เดือน หรือ 1 ปี ของธนาคาร การบันทึกเกรดของนักศึกษาในแต่ละภาคเรียน จนถึงภาคเรียนสุดท้ายจึงพิมพ์ใบรับรองเกรดเฉลี่ย ข้อมูลการใช้โทรศัพท์มือถือภายในช่วงรอบบัญชี (1 เดือน) จะถูกเก็บสะสมจนสิ้นสุดรอบบัญชี การประมวลผลแบบนี้จะไม่มีการโต้ตอบระหว่างผู้ใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ จึงเรียกอีกอย่างหนึ่งว่าระบบออฟไลน์ (Off-line System) มีข้อดี คือช่วยประหยัดค่าใช้จ่ายในการใช้อุปกรณ์แต่ก็มีข้อเสีย คือ ข้อมูลจะไม่ทันสมัย
2.2 การประมวลผลแบบออนไลน์ (On-line Processing) เป็นวิธีที่ผู้ใช้สามารถใช้งานพร้อมกันได้หลายคน (Multi-user) จะประมวลผลทันทีเมื่อรับข้อมูลเข้ามา โดยไม่ต้องรอรวมข้อมูลหรือสะสมข้อมูลไว้ก่อน โดยมีการเชื่อมต่อกับเครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ที่อยู่ในสถานที่อื่นมีความสามารถในการทำงานบางอย่างได้ เช่น เครื่องเอทีเอ็ม เครื่องตัดยอดของสินค้าทุกครั้งเมื่อมีการสั่งซื้อ เป็นต้น ข้อดี คือ ทำให้ได้ข้อมูลที่ทันสมัยเป็นปัจจุบันตลอดเวลา ข้อเสียคือ หากมีข้อมูลมาก การประมวลผลช้าลง เนื่องจากมีเพียงเครื่องแม่ข่ายเท่านั้นที่ทำการประมวลผล
3. การประมวลผลแบบกระจาย (Distributed Computing) เมื่อมีการใช้งานคอมพิวเตอร์ในองค์กรที่มีขนาดใหญ่ขึ้น อาจมีการขยายสาขาออกไป ทำให้มีระบบการทำงานที่มีขนาดใหญ่ จึงมีการนำการประมวลผลแบบกระจายจากศูนย์กลางมาใช้เพื่อชดเชยข้อจำกัดของการประมวลแบบรวมศูนย์ที่ค่อนข้างล่าช้า ส่งผลให้สามารถจัดสรรทรัพยากรเพื่อกระจายและแจกจ่ายการใช้งานข้อมูลต่างๆ ร่วมกันได้ทั่วทั้งองค์กรและรวดเร็วมากขึ้น รวมทั้งระหว่างหน่วยงานย่อยขององค์กรด้วย เช่น ฐานข้อมูล ข่าวสาร เครื่องคอมพิวเตอร์ เครื่องพิมพ์ เครื่องโทรสาร และเครื่องสแกนเนอร์ เป็นต้น
5. ข้อจำกัดของคอมพิวเตอร์
1. ถึงแม้ว่าขณะนี้ราคาเครื่องคอมพิวเตอร์และค่าใช้จ่ายต่างๆ เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์จะลดลงมากแล้วก็ตามแต่การที่จะนำคอมพิวเตอร์มาใช้ในวงการศึกษาในบางสถานที่นั้นจำเป็นต้องมีการพิจารณากันอย่างรอบคอบเพื่อให้คุ้มกับค่าใช้จ่ายตลอดจนการดูแลรักษาด้วย
2. การออกแบบโปรแกรมคอมพิวเตอร์ เพื่อใช้ในการเรียนการสอนนั้นนับว่ายังมีน้อย เมื่อเทียบกับการออกแบบโปรแกรมเพื่อใช้ในวงการด้านอื่น ๆ ทำให้โปรแกรมบทเรียนการสอนใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอนมีจำนวนและขอบเขตจำกัดที่จะนำมาใช้เรียนในวิชาต่าง ๆ
3. ในขณะนี้ยังขาดอุปกรณ์ที่ได้คุณภาพมาตรฐานระดับเดียวกันเพื่อให้สามารถใช้ได้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ต่างระบบกันเป็นต้นว่าซอฟต์แวร์ที่ผลิตขึ้นมาใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ระบบของไอบีเอ็มไม่สามารถใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ระบบของแม็กคินทอชได้
4. การที่จะให้ผู้สอนเป็นผู้ออกแบบโปรแกรมบทเรียนเองนั้น นับว่าเป็นงานที่ต้องอาศัยเวลา สติปัญญา และความสามารถเป็นอย่างยิ่ง ทำให้เป็นการเพิ่มภาระของผู้สอนให้มีมากยิ่งขึ้น
5. เนื่องจากบทเรียนคอมพิวเตอร์เป็นการวางโปรแกรมบทเรียนไว้ล่วงหน้า จึงมีลำดับขั้นตอนในการสอนทุกอย่างตามที่วางไว้ ดังนั้น การใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอน จึงไม่สามารถช่วยในการพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ของผู้เรียนได้
6.ผู้เรียนบางคนโดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้เรียนที่เป็นผู้ใหญ่อาจจะไม่ชอบโปรแกรมที่เรียนตามขั้นตอนทำให้เป็นอุปสรรคในการเรียนรู้ได้
สรุปผลการศึกษาค้นคว้า เรื่อง ระบบคอมพิวเตอร์
ได้ศึกษาค้นคว้าด้วยวิธีการ อิเตอร์เน็ต
แหล่งความรู้ที่ได้ศึกษาค้นคว้า จาก
https://sites.google.com/site/computerinbusiess/computer-system
http://www.wimut.ac.th/61/12
http://popandit1.blogspot.com/2013/05/35-1.html
https://sites.google.com/site/loryeng2/rup-baeb-kar-pramwl-phl-khxng-khxmphiwtexr
https://www.gotoknow.org/posts/210856
ลงชื่อ ศศิมาภรณ์ วันทนะ ผู้ศึกษาค้นคว้า
(นางสาวศศิมาภรณ์ วันทนะ)
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น